งานบทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์



ฮาร์ดแวร์คืออะไร
            ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน
            1. ฮาร์ดแวร์สำคัญที่พบใน Case ได้แก่
                    1.1 Power Supply
                    1.2 Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard ที่สำคัญ ได้แก่
                                1.2.1 CPU
                                1.2.2 RAM
                                1.2.3 Expansion Slots
                                1.2.4 Ports
                    1.3 Hard Disk
                    1.4 Floppy Disk Drive
                    1.5 CD-ROM Drive
                    1.6 DVD-ROM Drive
                    1.7 Sound Card
                    1.8 Network Card
            2. ฮาร์ดแวร์สำคัญที่อยู่นอก Case ที่สำคัญได้แก่
                    2.1 Keyboard
                    2.2 Monitor
                    2.3 Mouse
                    2.4 Printer
                    2.5 Scanner
                    2.6 Digital Camera
                    2.7 Modem
                    2.8 UPS

Software หมายถึง อะไร

วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2009 เวลา 14:42 น.
Software หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ทำหน้าที่สั่งการ ควบคุมการ ประมวลผลอุปรกรณ์คอมพิวเตอร์ ในส่วนที่เรียกว่า ฮาร์ดแวร์ แม้ว่าจะมีความเร็วสูงในการทำงาน
 มีหน่วยความจำสูง และมีอุปรกรณ์ประกอบมากมาย แต่อาร์ดแวร์ทำงานไม่ได้ ถ้าไม่มีชุดคำสั่งควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์หรือชุดคำสั่ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือโปรแกรมระบบ และโปแกรมประยุกต์
1. โปรแกรมระบบ (system Soltware) ทำหน้าที่ทำงานที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 โปรแกรมระบบปฎิบัติการ (Operating System) ประกอบด้วยโปรแกรมการทำงานย่อยๆ ทำหน้าที่ต่างๆ กันระบบปฎิบัตการที่ใช้กันกว้างขวาง คือ Windows XP ,Windows Vista
Linux
1.2 โปรแกรมแปลภาษา (Language Translators) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาสิก
 โคบอล ฟอร์แทรน โปรแกรมประยุกต์ที่นำเข้ามาสู่หน่วยจำด้วยภาษาที่เขียนขึ้นเราเรียกว่า Source Program ซึ่งเป็นภาษาเครื่องเราเรียกว่า Object Program หรือ Machine Language
โปรแกรมแปลภาษแต่ละตัวจะทำหน้าที่ต่างกันและจะแปลได้ภาษาใดภาษหนึ่งเท่านั้น เช่น โปรแกรมภาษาโคบอลก็จะแปลเฉพาะภาษาโคบอลเท่านั้น โปแกรมภาษาฟอร์แทน ก็จะแปลได้แต่ภาษาฟอร์แทนเท่านั้น
เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิต เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยงานคอมพิวเตอร์จัดทำขึ้นสำหรับการที่จะช่วยการประมวลผล ที่ทำหน้าที่ประจำโปรแกรมดังกล่าวนี้ ประกอบด้วย
โปรแกรมต่าง ๆ ทำหน้าที่เฉพาะงาน เช่น
   1.1.1 Text - Editing Program เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่เพื่อเตรียมข้อมูลหรือโปแกรม เข้าสู่ระบบ การเพิ่มแก้ไขหรือการย่าย หรือลบทิ้ง
   1.1.2 Diagnostic Program ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อพกพร่องของโปแกรมและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
   1.1.3 Peripheral Interchange Program ช่วยจัดย้ายแฟ้มงานข้อมมูลจากสื่อชนิดหนึ่งไปยังสื่ออีกชนิดหนึ่ง เช่น ย้ายข้อมูลในเทปแม่เหล็กไปเก็บไว้ในจานแม่เหล็ก VCD,DVD และอื่นๆ
   1.1.4.Sort/Merge Program ช่วยงานจัดลำดับข้อมูลตามลำดับอักษรหรือลำดับเลขและช่วยงานรวมแฟ้มข้อมูงต่างๆ เข้ามาเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน
    โปแกรมประยุกต์ คือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่นภาษาเบสิก โคบอล ฟอร์แทรน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตามคาสมต้องการโปแกรมเหล่านี้ผู้ใช้เขียนเอง สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง ในขณะเดียวกัน
มีซอฟแวร์จัดทำขึ้นจำหน่วย  เรียกว่า  โปหแรมสำเส็จรูป (Package Program) ผู้ใช้งานสามารถนำมาใช้งานได้เลย เช่นโปแรกม CDS/ISIS
 ซึ่งโปแกรมสำหรับจัดเก็บและสืบค้นสารสนเทศ  โปแกรมSAS,ABSTAT,SPSS,Microsoft Office ปัจจุบันมีโปแกรมสำเส็จรูปจำนวนมาก ไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ทำให้การใช้งานทำได้กว้างขวางขึ้น การเรียนรู้ง่ายและสะดวก
                  อย่างไรก็ตาม โปแกรมสำเร็จรูปก็ไม่สนองตอบความต้องการของผู้ใข้ได้ทุกอย่างบางครั้งจำเป็นต้องเขียนโปแกรมขึ้นมาใช้เอง ก็ต้องศึกษาวิธีการเขียนโปแกรม  และต้องแน่ใจว่าเครื่องคอมพิวเตอร์มีตัวแปลภาษา ทำหน้าที่แปลคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องได้

 ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม
  1.ภาษาเครื่อง ประกอบด้วยกลุ่มเลขฐานสอง ซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เครื่องสามารถรับรู้และนำไปปฎิบัติได้ทันที  ในระยะเริ่มแรกปผู้ใช้จะต้องเรียนรู้ภาษาเครื่อง จึงจะสามารถเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ และการใช้ภาษา
เครื่องจำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจอย่างลึกซึง จึงนับว่าเป็นความยากลำบากอย่างมากและไม่สะดวกที่จะใช้งาน จึงมีผู้พัฒนาภาษาให้มีความสะดวกมากขึ้น
  2. ภาษาระดับต่ำ เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง แต่ทำให้กระซับกว่า โดยผู้ใช้ตัวอักษรแทนเลขฐาน สอง ทำให้ผู้ผู้เขียนชุดคำสั่งสะดวกมากขึ้น เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสแซบบลีก็จะแปลให้เป็นภาษาที่เรียกว่า แอสแซมเบอล (Assemlier)
เพื่อแปลคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องแม้ว่าผู้ใช้งานจะเข้าใจหรือไม่ก็ตามกับภาษาเครื่อง แต่ยังคงมีความไม่สะดวกเพราะพัฒนามาจากภาษาเครื่อง
 3. ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่ออกแบบให้ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์จึงทำให้ผู้ใช้งานได้เข้าใจง่ายกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ 2 กลุ่ม ที่กล่าวมา โดยบไม่คำนึงถึงรายละเอียดในระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไม่มากนักไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐาน
เกี่ยวกับภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงนี้สามารถนำไปใช้งานกับคอมพิวเตอร์ในระบบอื่นได้  นับว่าเป็นภาษาที่สะดวกแก่การใช้งานมากขึ้น แต่ละภาษามีจุดเด่นต่างกัน ต้องมีการพิจารณาเป็นพิเศษ ตัวอย่างเช่น
 - FORTRAN เป็นภาษาที่มีความสามารถในการคำนาณสูงมาก เหมาะสำหรับงานวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม
 - COBOL เหมาพสำหรับการใช้งานทางด้สนธุรกิจการบัญชีการธนาคาร ความสามารถในการจัดการกับแฟ้มข้อมูลจำนวณมาก
 - BASIC เป็นภาษษคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นให้มีลักษณธที่ใช้งานง่าย ศึกษาได้ง่ายผู้ใช้สามารถตอบกับเครื่องในโปรแกรมและเหมาะแก่แารใช้งานทางธุรกิจ วิทยาศาสตร์ แต่ภาษาเบสิกยังจัดได้ว่าใหช้งานได้ไม่ดีนัก ส่วนใหญ่ใช้ในไมดครคอมพิวเตอร์
 - PACAL เป็นภาษาที่พัฒนามาจากโปรแกรมโครงสร้าง แต่จัดอยู่นะดับปลานกลางเพราะ การจัดการข้อมลูไม่ได้มาก
 นอกจากที่กล่าวมาแล้วยังมีภาษาระดับสูงอีกเช่น ALGOL,ADA,ALP,PROLOG,C เป็นต้น
 โครงสร้างข้อมูล (DATA Structure) ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลมีรายละเอียดดังนี้
 1.บิท(Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในคอมพิวเตอร์ ย่อมาจาก Binary digit หมายถึงเลขฐานสองที่มีค่า 0หรือ 1ดังนั้นในแต่ละบิทจึงแทนค่าได้เพียงสองสภาวะ หรือถ้าแทนตัวอักษรจะได้เพียง สองตัวอักษรเท่านั้น
เช่น 0=a,1=b
 2.ไบต์ (Byte)หมายถึง หน่วยข้อมูลกลุ่มหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักษร (Character) หนึ่งตัวหรือหนึ่งไบต์เช่น A=0110001,B=011000010
 ไบต์ เป็นหน่วยข้อมมูลที่มีขนาดใหญ่กว่าบิทและใช้บอกขนาดความจุในการเก็บข้อมมูลในคอมพิวเตอร์โดยมีหน่วยเรียดว่า ดังนี้
     8 Bit      =    1 Byte
 1,024 Byte     =    1 Kilobyte
 1,024 Kilobyte =    1 Megabyte
 1,024 Megabyte =    1 Gigabyte
 - ตัวอักษร (Charater)หมายถึงสัญลักษณ์ ที่ใช้ในการประเมินผล เช่น 0-9,a-z'ก-ฮ และเครื่องหมายอื่นๆ ซึ่งจะมีความหมายเช่นเดียวกับไบต์
 - คำ(Word)หมายถึง กลุ่มของไบต์ หรือหน่วยหลักของเขตข้อมูลที่ใช้ในหน่วยความจำหลักของข้อมูล เช่น24 Bits/word หรือ32 Bist/word
 - เขตข้อมมูล (Field)หมายถึง กลุ่มของไบต์หรือว่ากลุ่มตัวอักษร ที่มีขอบเขตเป็นพื้นที่เฉพาะอันใดอันหนึ่ง ในการบันทึกข้อมูลในแต่ละรายการ เช่น เขตข้อมูลในแต่ล่ะรายการ เช่น เขตข้อมูลของชื่อและนามสกุลหรือประวัติ
 - ระเบียบ (Recrod)หมายถึง ข้อมูลหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบของแฟ้มข้อมมูลหรือกลุ่มของข้อมมูลชุดหนึ่ง หรือกลุ่มของเขตข้อมมูลที่ประกอบขึ้นเป็น Recrord
- แฟ้ม (File)หมายถึงชุดข้อมมูล ซึ่งประกอบไปด้วยไปด้วยกลุ่มของระเบียบที่มีวัตถุประสงค์  ในการปะเมินผลร่วมกัน เช่น แฟ้มข้อมมูลของนักศึกษาก็จะประกอบไปด้วยระเบียบของนักศึกษาทุกๆคน
- Vector หมายถึง Field ที่ตรงกันในแต่ล่ะ Recrord
- Array หมายถึง กลุ่มของ Vector ทั้งหมดใน Recrord
 1.3โปรแกรมอำนวจจความสะดวก (Utility Program)
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใชงาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) 
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) 
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น

ข้อมูล และสารสนเทศ
ข้อมูลหมายถึงอะไร
         ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น  บุคคล   สิ่งของ  สถานที่  ฯลฯ     ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ข้อมูลต้องถูกต้องแม่นยำ  ครบถ้วนขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูล
 1.    ความถูกต้อง โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการ ดำเนินงานเพื่อความถูกต้องแม่นยำ                                                                   
 2.    ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน  การได้มาซึ่งข้อมูลต้องให้ทันความ  ต้องการของ ผู้ใช้
 3.    ความสมบูรณ์  ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นอยู่กับการเก็บรวบ   รวมข้อมูลและวิธีการ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับที่เหมาะสม
ความชัดเจนและกระทัดรัด    
           ต้องมีการออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด  ใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลความสอดคล้อง  ต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดูแลสภาพการใช้ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
 ความหมายของสารสนเทศ
              สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (raw data) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึงกระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการโดยจะรวมถึง
เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์คมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟต์แวร์ทั้งระบบสำเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะด้าน กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน รวบรวมข้อมูล จัดเก็บประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน ประกอบด้วย
-ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System
-ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)           
 -ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)                              
-ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System)         
 -ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)                                             
ข้อมูล และสารสนเทศ มีความแตกต่างกันอย่างไร
              ความแตกต่างของข้อมูลและสารสนเทศ คำว่า ข้อมูล” (Data) และ สารสนเทศ” (Information) นั้นมีความหมายแตกต่างกัน กล่าวคือ ข้อมูลหมายถึง ข้อเท็จจริงทั่ว ๆ ไปที่มีอยู่ซึ่งทำการเก็บรวบรวมมาได้ โดยข้อเท็จจริงนี้เป็นบุคคล วัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ หรือสถานที่และข้อมูลดังกล่าวอาจอยู่ในรูปแบบที่เป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือสถานที่ รูปภาพหรือเสียงก็ได้ สำหรับ สารสนเทศนั้นหมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้อ้างอิง ดำเนินงาน หรือตัดสินใจอย่างหนึ่งอย่างใด โดยสารสนเทศนี้อาจอยู่ในรูปแบบที่เป็นตัวเลข ตัวหนังสือ รูปภาพ หรือเสียงก็ได้
ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ เพื่อให้เห็นภาพของข้อมูลและสารสนเทศชัดเจนขึ้น จะขอยกตัวอย่างเรื่อง เกรดเฉลี่ยของนักเรียนในแต่ละภาคเรียน ซึ่งเกรดเฉลี่ยนั้นจะได้จากการนำเกรดในแต่ละวิชาที่นักเรียนลงเรียนมาทำการประมวลผล ดังนั้น ในที่นี้เกรดแต่ละวิชาของนักเรียนจึงเป็น ข้อมูลในขณะที่เกรดเฉลี่ยของนักเรียนเป็น สารสนเทศอย่างไรก็ตามข้อเท็จจริงหนึ่ง ๆ อาจเป็นได้ทั้งข้อมูลและสารสนเทศก็ได้ขึ้นอยู่กับผู้ที่จะใช้ข้อเท็จจริงนั้น ๆ

CS เทรดดิ้ง
 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในธุรกิจร้านอาหาร
               ธุรกิจร้านอาหารเป็นที่นิยมเปิดกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในย่านธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงและยังต้องแข่งกับเวลาที่เร่งรีบอีกด้วย การสร้างจุดแข็งให้กับร้านจึงเป็นสิ่งสำคัญ การให้บริการลูกค้าที่รวดเร็วเป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยเพิ่มจุดแข็งในการแข่งขันกับธุรกิจประเภทเดียวกัน จึงต้องมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการบริหารและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น

                เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้ได้แก่
1.       Wireless Service Button
2.       Wireless Service Bell Receiver
3.       Pocket PC
4.      Wireless LAN
5.       Access Point

ซึ่งรายละเอียดของเทคโนโลยีมีดังนี้

1. Wireless Service Button
Wireless Service Button หรือ Wireless Service Ball เป็นระบบที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าในการเรียกบริกรที่สามารถมอบบริการแบบทันท่วงที และเพื่อบริหารพนักงานในร้านให้มีการบริการที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ลูกค้ารับรู้ได้ถึงความเอาใจใส่และการได้รับบริการเป็นอย่างดี อุปกรณ์ชนิดนี้เป็นอุปกรณ์ที่สื่อสารแบบไร้สาย เพียงลูกค้ากดปุ่มที่โต๊ะอาหารจากนั้นบริกรก็จะเห็นจากแผงแสดงผล (Wireless Service Bell Receiver) ว่ามีโต๊ะไหนเรียก ทางบริกรเองก็จะมีอุปกรณ์ตอบรับติดตัวอยู่ โดยเมื่อทราบว่ามีการเรียกใช้บริการ ก็จะตอบรับกลับไป และพร้อมไปบริการตามคำสั่งโดยเร็ว นอกจากนี้อุปกรณ์ชนิดนี้ยังทำให้ร้านอาหารดูดียิ่งขึ้น ทั้งยังเพิ่มความสะดวกสบายให้ผู้ใช้งานและยังทำให้ผู้ใช้ รู้สึกสนุกกับการใช้งานอีกด้วย
Wireless Service Bell Receiver
อุปกรณ์นี้สามารถจัดการระเบียบการทำงานของพนักงานเสริฟ์ได้อย่างดี เพื่อตอบสนองการบริการของลูกค้าได้ทันท่วงทีโดยใช้เวลาน้อยกว่าการบริการแบบเดิมๆ  โดยเมื่อลูกค้ากดปุ่มที่โต๊ะอาหารของลูกค้า พนักงานก็จะทราบทันทีว่าโต๊ะไหนเรียกโดยดูจากแผง Wireless Service Bell Receiver นี้ พนักงานจึงบริการลูกค้าได้ทันท่วงที ทำให้การบริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2.Wireless Service Bell Receiver
วิธีการทำงานของ Wireless Service Button และ Wireless Service Bell Receiver เพียงแค่วางปุ่มกดไว้บนโต๊ะ และติดตั้งตัวอุปกรณ์ Wireless Service Bell Receiver โดยเสียบปลั๊กไฟไว้เมื่อลูกค้ากดปุ่มWireless Service Button ก็จะส่งสัญญาณไร้สายไปที่ Wireless Service Bell Receiver ทำให้บริกรรับรู้การขอรับบริการจากลูกค้า

3.Pocket PC
การรับออเดอร์ด้วยพ็อกเก็ตพีซีช่วยทำให้การบริการทำได้รวดเร็วขึ้น ในกรณีที่มีลูกค้าจำนวนมากก็สามารถสั่งอาหารได้ก่อนที่โต๊ะจะว่าง ทำให้ลูกค้าไม่ต้องรออาหารเป็นเวลานาน เมื่อลูกค้าต้องการสั่งอาหารเพิ่ม หรือยกเลิกอาหาร หรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ ก็สามารถทำได้อย่างถูกต้อง และได้รับบริการอย่างรวดเร็ว เมื่อพนักงานจดออเดอร์ในพ็อกเต็ตพีซีเรียบร้อย ข้อมูลก็จะถูกส่งไปยังห้องครัวทันที พ่อครัวก็สามารถเตรียมอาหารให้ได้ โดยไม่ต้องรอพนักงานเดินมาส่งและเนื่องจากข้อมูลต่างๆ ที่ลูกค้าได้ออเดอร์ไว้ถูกบันทึกด้วยพ็อกเก็ตพีซี จึงมีความถูกต้องสูง ดังนั้นการคิดค่าบริการหรือค่าอาหารจะไม่ทำให้เกิดการผิดพลาดเหมือนระบบ Manual และให้บริการได้อย่างรวดเร็วทุกขั้นตอน

 4. Wireless LAN
เป็นระบบเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้สายเข้าด้วยกัน หรือเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต โดยอาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency: RF) รับส่งข้อมูลแทนสายเคเบิล คลื่นวิทยุที่ใช้อยู่ในย่านความถี่ ISM (Industrial Scientific and Medical) ซึ่งเป็นย่านความถี่สาธารณะสามารถใช้งานโดยไม่ต้องขออนุญาต โดยแต่ละประเทศมีช่องสัญญาณที่อนุญาตให้ใช้งานต่างกัน

5.Access Point
เป็นเครื่องรับและส่งสัญญาณจากอุปกรณ์ไร้สายเมื่อรับข้อมูลทางคลื่นวิทยุจากคอมพิวเตอร์ต้นทาง Access Point จะส่งข้อมูลต่อไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางซึ่งอาจเป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายไร้สายเดียวกันผ่านคลื่นวิทยุ

แก้ปัญหาได้ด้วยเทคโนโลยี
             เทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วยสร้างจุดเด่นให้กับร้านอาหารซึ่งทำให้แข่งขันกับร้านอื่นๆ ได้  โดยเฉพาะในภาวะที่มีการแข่งขันทางธุรกิจสูงในยุคนี้ ผู้บริโภคก็มีทางเลือกในการใช้บริการอยู่มากมาย ดังนั้นถ้าบริการไม่อาจสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า โอกาสที่จะเสียลูกค้าให้กับธุรกิจคู่แข่งก็มีอยู่สูง ลูกค้าไม่ต้องรอคิวนานเมื่อไปใช้บริการหรือสั่งอาหารแล้วรอนานกว่าจะได้อาหารที่สั่ง และบางครั้งการเช็คบิลกลับพบว่ามีรายการอาหารที่ลูกค้าไม่ได้สั่งหรือการคิดเงินผิดพลาด ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นปัญหาที่ลูกค้าต้องเจอเป็นประจำ

การแก้ปัญหาด้านบริการด้วยเทคโนโลยี
1.       รับออเดอร์ได้รวดเร็วทันใจ
2.       ให้บริการได้อย่างรวดเร็วอย่างที่ลูกค้าต้องการ
3.       เพิ่ม ลด หรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ได้อย่างไม่มีปัญหา
4.       เช็คบิลได้รวดเร็ว และถูกต้อง
5.       รองรับการขยายธุรกิจในอนาคต

ในปัจจุบันเทคโนโลยีกลายเป็นปัจจัยส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิตประจำวัน
       ซึ่งจะเห็นได้ว่า มีการนำเทคโนโลยีมาใช้เป็นส่วนประกอบ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา เพื่อให้ทันกับโลกของธุรกิจที่แข่งขันกันอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยียังมีข้อเสียที่เราไม่สามารถคาดการณ์ได้

 

1. ธุรกิจ Quick service restaurant
 ส่วนใหญ่เป็นแฟรนไชซีของบริษัทแม่ในต่างประเทศ เช่น ร้านขายไก่ เบอร์เกอร์ พิซซ่า ประเภทโดนัทและไอศครีม ปัจจุบันร้านค้านี้อยู่ในลักษณะทรงตัว
2. ธุรกิจภัตตาคาร กลุ่มนี้มีการขยายตัวเร็วมาก ผู้ประกอบการต่างเร่งขยายสาขา สร้างภาพพจน์ของตนเองเพื่อสนอง ผู้บริโภคที่หันมานิยมนั่งรับประทานอาหารในร้านประเภทนี้มากขึ้น
3. ธุรกิจร้านอาหารขนาดเล็ก หรือ SMEs ส่วนใหญ่เป็นร้านที่มีเจ้าของบริหารเองทุกอย่าง ผู้ประกอบการรายใหม่จะเข้ามาในกลุ่มนี้มาก

ข้อดี
1.    เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน (Operation Efficiency)
2.    เพิ่มผลผลิต (Function Effectiveness)
3.    เพิ่มคุณภาพบริการลูกค้า (Quality Customer Service)
4.    ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลผลิต (Product Creation and Enhancement)
5.    สามารถสร้างทางเลือกเพื่อแข่งขันได้ (Altering the basic of competition)
6.    สร้างโอกาสทางธุรกิจ (Identifying and Exploiting Business Opportunities)
7.    ดึงดูดลูกค้าและป้องกันคู่แข่ง (Client Lock-In/Competitor Lock-Out)

ข้อเสีย
1.    วงจรชีวิตของระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างจำกัด อาจจะอธิบายได้ว่า เนื่องจาการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี รวมทั้งสภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วยหรือ การเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริหาร ก็อาจจะต้องเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วย
2.    ลงทุนสูง เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่มีราคาแพง และส่วนมากไม่อาจจะนำไปใช้ได้ทันที แต่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเสียก่อนจึงจะใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
3.    ก่อให้เกิดช่องว่าง (Gap) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดช่องว่างในการรับข่าวสารระหว่างคนจนกับคนรวย
                    

ผมเลือกระบบร้านอาหารครับเพราะว่าได้มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในธุรกิจนี้อย่างมากมาย

• รับออเดอร์ได้รวดเร็วทันใจ
ปัญหาแรกๆที่มักพบกันอยู่เสมอคือการรับออเดอร์ที่ล่าช้า จุดนี้เป็นจุดแรกที่ควรปรับปรุง ระบบจัดการธุรกิจและร้านอาหาร จะช่วยให้ธุรกิจของคุณรับออเดอร์ได้รวดเร็วด้วยการใช้พ็อกเก็ตพีซีในการรับออเดอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ที่ใช้ก็ได้รับการพัฒนาจากผู้เชี่ยวชาญด้านนี้เป็นอย่างดี ในช่วงเวลาเร่งด่วนที่มีผู้มาใช้บริการมาก คุณก็สามารถรับออเดอร์ลูกค้าไว้ก่อนได้ การบันทึกออเดอร์ด้วยพ็อกเก็ตพีซีจะมีความชัดเจนและลดความผิดพลาดได้เป็นอย่างดีอีกด้วย


• ให้บริการได้อย่างรวดเร็วอย่างที่คุณต้องการ
หลังจากรับออเดอร์จากลูกค้าแล้ว ออเดอร์จะถูกส่งผ่าน Wireless LANภายในร้านไปยังห้องครัวทันที ออเดอร์ของคุณจึงสามารถจัดเตรียมได้อย่างรวดเร็ว ที่สำคัญคุณยังไม่ต้องกังวลว่าจะเกิดความผิดพลาดในการจดออเดอร์อีกด้วย ดังนั้นเมื่อลูกค้าได้รับบริการที่รวดเร็วและถูกต้อง ย่อมก่อให้เกิดความพอใจและกลับมาใช้บริการในครั้งต่อไป

• เพิ่ม ลด หรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ได้อย่างไม่มีปัญหา
การเพิ่มลดหรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ขั้นตอนเหล่านี้มักจะก่อให้เกิดปัญหาวุ่นวายตามมามากมาย เช่นความล่าช้าในการจัดเตรียมบริการ มักจะก่อให้เกิดความไม่พอใจต่อลูกค้า แต่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่มีความแม่นยำในการทำงาน ข้อมูลต่างๆ จึงสามารถเพิ่มลดหรือเปลี่ยนแปลงออเดอร์ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว

• เช็กบิลรวดเร็ว และถูกต้องในทุกรายละเอียด
ร้านอาหารที่เช็กบิลผิดบ่อยๆย่อมจะทำให้ลูกค้าไม่เชื่อถือและไม่กลับมาใช้บริการอีก ดังนั้นระบบ Wireless LANข้อมูลออเดอร์จุถูกส่งไปยังแคชเชียร์ทันทีที่รับออเดอร์ จึงพร้อมที่จะเช็กบิลได้ทุกเมื่อ และเมื่อมีการสั่งเพิ่มลด ข้อมูลที่แคชเชียร์ก็จะได้รีบการอัพเดตโดยอัตโนมัติ ทำให้สามารถเช็กบิลได้รวดเร็วและถูกต้อง

รองรับการขยายธุรกิจในอนาคต
เมื่อธุรกิจมีบริการที่ยอดเยี่ยม โอกาสที่ธุรกิจจะประสพความสำเร็จก็มีมาก ดังนั้นการขยายธุรกิจเพื่อรองรับผู้ใช้บริการที่มากขึ้นย่อมเป็นเรื่องที่ต้องเกิดตามมา การมีระบบที่รองรับการเติบโตของธุรกิจ จึงเป็นเรื่องที่ดีก็พร้อมที่จะเติบโตไปกับธุรกิจไม่ว่าจะเป็นการรับส่งข้อมูลระหว่างสาขาผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถส่งข้อมูลรายรับรายจ่ายในแต่ละวันไปที่สำนักงานใหญ่ หรือการสร้างระบบ CRM(Customer Relatoinship Management)เพื่อหาทางพัฒนาบริการและสร้างความพึงพอใจสูงสุดกับลูกค้า
เริ่มต้นธุรกิจคุณด้วยโซลูชั่นง่ายๆที่ไม่ซับซ้อน
ถ้าคุณกำลังมองหาผู้ที่ให้บริการที่พร้อมก้าวเคียงคู่ไปกับธุรกิจของคุณ และนำเสนอโซลูชั่นที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน แต่สามารถตอบสนองความต้องการของธุรกิจคุณได้  คุณจึงสามารถเอาเวลาไปพัฒนาธุรกิจของคุณได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมากังวลกับเรื่องของตัวระบบไอที จะทำให้คุณมั่นใจได้ถึงบริการหลังการขายที่รวดเร็วทันใจ และต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่คุณใช้งานโซลูชั่น ช่วยให้ธุรกิจของคุณแข็งแกร่งยิ่งขึ้น และพร้อมสำหรับทุกการแข่งขันทางธุรกิจอย่างมั่นใจ

http://www.nationejobs.com/content/career/richrisk/template.php?conno=577

ให้นักศึกษาแสดงข้อมูล จำนวน 1 ชุด พร้อมทั้งแสดงในรูปแบบของระบบสารสนเทศ









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น